ที่หนึ่งให้คุมะครับ ความสามารถเจ๋ง ความแข็งแกร่ง(ก่อนโดนแปลงร่าง) แถมยังเคลื่อนที่ใกล้ความเร็วแสงได้อีก(วาร์ป)
ที่โหล่ให้โมเรีย โดนจินเบซัดหมัดเดียวหมอบ
วาร์ปนะ มันความเร็วมากกว่าแสงไม่ใช่หรอ
ไม่รู้อันไหนมันเร็วกว่ากันหนะครับ
อย่างเอเนล ก้อเทเลพอตปุป มาปั้ป เลย ก้อเหมือนคุมะ วาบปุบมาปั้ป เลย
เอเนล คือความเร็วเสียง คิซารุแสง ส่วนคุมะมันคงไช่เหมือนเดิมไม่ได้ละ
คิซารุไว สุสแน่นอนครับ
ส่วน เจ้าของแสงก้อเห็นอยู่ ส่องปุปไปปั้ป เหือนกัน ก้อคิดว่า มันน่าจะพอๆ กันเลย แหละครับ
ในเรื่องนี้วัดไม่หรอกครับ
เพราะทั้งสามคน คิดจะมาโผล่ก้อมาเลย แต่ต่างกันด้วยวิธี เทเลพอต วาบ กะสะท้อนแสง
แล้ว สายฟ้า กะแสง มันเร็วพอๆกันหนะครับ เห็นมีคนเคยบอก เวลาเทียบออกมาเป็นเลขตามหลักวิทยาศาสตร์
ที่บอกเอเนลความเร็วเสียง นั้นไม่ใช่ละครับ
เอเนลเสียงครับ สายฟ้า เวลาจะผ่า่ เสียง หรือ แสงมาก่อนครับ ??? ทำเสรียงไห๊เกิดความร๊อนครับสายฟ้าอ่ะ
อ่ะเอาไปอ่านซะที่สายฟ้าเป็นความเร็วเสียง หาข้อมูลก่อนก้อได้นะจ้ะ
ขณะที่สายฟ้าเดินทางลงมาใกล้จะถึงพื้นแล้วนั้น หากมีอาคารสิ่งก่อสร้าง หรือต้นไม้สูงๆ โปรตอนภายในสิ่งสูงๆเหล่านั้นบนพื้นดิน ก็จะกระโดดข้ามอากาศเป็นทาง เรียกว่า streamer ขึ้นไปหาลำกระแสอีเลคตรอนที่ฐานเฆฆ ที่กำลังพุ่งตัวลงมาเป็นห้วงๆ ในที่สุดลำประจุบวกจากพื้นดิน ก็จะบรรจบกันกับลำประจุลบที่ลงมาจากก้อนเมฆ พอทั้งสองบรรจบกันแล้ว ประจุบวกจำนวนมหาศาลจากพื้นดินก็จะโดดขึ้นไปยังก้อนเมฆ ให้เรามองเห็น เป็นลำไฟฟ้าที่มาจากพื้นกลับคืนขึ้นไปยังก้อนเมฆ ที่เรียกว่า return stroke ในเวลาน้อยกว่าชั่วพริบตาเสียอีก ซึ่
งเป็นแสงที่เราเรียกว่าฟ้าผ่า สายฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วประมาณ หกหมื่นไมล์ ต่อวินาที ป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในหมู่นักวิทยาศาสตร์แล้วว่า เมื่อเกิดฟ้าผ่า ลำอากาศรอบๆสายฟ้า จะถูกอัดด้วยแรงกดดันมหาศาลจนฉีกตัวออกกลายเป็นพลาสม่า การขยายตัวอย่างฉับพลันของพลาสม่า ทำให้เกิดช้อคเวฟ ที่เมื่อเดินทางไประยะหนึ่ง จะลดกำลังลงกลายเป็นคลื่นเสียง
คลื่นเสียงเดินทางได้ช้ากว่าคลื่นแสงมาก เราจึงเห็นฟ้าผ่าก่อน แล้วจึงจะได้ยินเสียงฟ้าร้อง ความเร็วของคลื่นเสียงของฟ้าร้อง ขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ ความเร็วและทิศทางของลมพายุที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน
อัตราเร็วของแสง (speed of light) ในสุญญากาศ มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 เมตรต่อวินาที (หรือ 1,079,252,848.8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือประมาณ
186,282.397 ไมล์ต่อวินาที หรือ 670,616,629.4 ไมล์ต่อชั่วโมง)
สายฟ้า หกหมื่นไมต่อวินาที